ช่างไฟฟ้านครพนม ติดตั้งระบบไฟฟ้า เดินสายไฟทั้งหลัง ซ่อมแซมแก้ไขไฟดับ ไฟช็อต

รับซ่อมไฟฟ้านครพนม บ้าน อาคาร โรงงาน มาตรฐานทีมงานบริษทัท รวดเร็วทันใจ ฉับไว ซ่อมไฟ24 มองหาช่างไฟฟ้า ช่างรับเหมาไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า

นครพนมช่างซ่อมไฟฟ้าประจำบ้าน
เดินสายไฟนครพนม
ติดตั้งปลั๊กนครพนม
ติดตั้งหลอดไฟนครพนม
รับซ่อมไฟฟ้านครพนม
ซ่อมไฟบ้านนครพนม
เดินสายไฟในบ้านนครพนม
ช่างซ่อมไฟซ๊อตนครพนม
ติดต่อช่างไฟฟ้า


การต่อท่อประปาและการแก้ก๊อกน้ำที่รั่วซึม

งานช่างประปา คือ ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับการวางท่อประปา การเชื่อมต่อท่อ และการไหลของน้ำ น้ำเป็นสิ่งจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มีการศึกษาเกี่ยวกับการใช้น้ำปรากฏว่า คนในชนบทใช้น้ำ 150 ลิตรต่อคนต่อวัน คนในเมืองใช้น้ำ 440 ลิตรต่อคนต่อวัน น้ำจึงมีความสำคัญต่อมนุษย์มาก ระบบการประปาได้แก่ การนำน้ำเข้ามาใช้ การระบายน้ำโสโครกภายในอาคารบ้านเรือนออกไป เป็นสิ่งจำเป็นและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันมากที่สุด ระบบประปาที่ดีมีประสิทธิภาพ จึงหมายถึงความสะดวกสบาย สุขภาพและพลานามัยของผู้อยู่อาศัย ดังนั้นความรู้เรื่องระบบน้ำประปา ระบบการระบายน้ำโสโครก สุขภัณฑ์ เครื่องมือเครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนวิธีการจัดระบบการประปา การซ่อมบำรุงรักษาจึงเป็นสิ่งจำเป็น สามารถศึกษาและปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง

เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่างๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้านพักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวางระบบน้ำประปามาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับอาคารบ้านเรือนทั้งหลายจะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่งท่อต่างๆ ได่แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และระบบท่อระบายอากาศให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่างๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ต่างๆ เช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้นก่อนการดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ต้องคำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่างๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่นๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่างๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา

เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่างๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้านพักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวางระบบน้ำประปามาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับอาคารบ้านเรือนทั้งหลายจะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่งท่อต่างๆ ได่แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และระบบท่อระบายอากาศให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่างๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ต่างๆ เช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้นก่อนการดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ต้องคำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่างๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่นๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่างๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา

2) ระบบจ่ายน้ำโดยแรงโน้มถ่วง (Gravity Feed/Down feed System) เป็นการสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้บนดาดฟ้าแล้วปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็นอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้นขึ้นไป ถือเป็นระบบที่ไม่ซับซ้อนไม่ต้องใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรียมถังเก็บน้ำไว้บนดาดฟ้า จึงต้องคำนึงถึงเรื่องโครงสร้างในการรับน้ำหนักและความสวยงามด้วย

ในการสำรองน้ำสำหรับการใช้งานนั้นจะต้องมีการใช้ถังเก็บน้ำแบบต่างๆ มาประกอบการใช้งาน ถังเก็บน้ำที่มีใช้กันอยู่โดยทั่วไปในปัจจุบันนั้นมีหลายแบบให้เลือกใช้ รวมทั้งอาจจะต้องมีเครื่องสูบน้ำติดตั้งอีกด้วย แต่เครื่องสูบน้ำนั้นห้ามต่อระหว่างระบบสาธารณะกับถังพักน้ำในบ้าน เพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฏหมาย เนื่องจากเป็นการสูบน้ำจากระบบสาธารณะโดยตรงซึ่งเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น การสูบน้ำในบ้านจะต้องปล่อยให้น้ำจากสาธารณะมาเก็บในถังพักตามแรงดันปกติเสียก่อน แล้วค่อยสูบน้ำไปยังจุดที่ต้องการอื่นๆ ได้

ตำแหน่งที่ตั้งถังเก็บน้ำที่ใช้งานทั่วไปมีที่ตั้ง 2 แบบคือ
-ถังเก็บน้ำบนดิน ใช้ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอกับการติดตั้ง อาจติดตั้งบนพื้นดิน บนอาคาร หรือติดตั้งบนหอสูง เพื่อใช้ประโยชน์ในการใช้แรงดันน้ำ สำหรับแจกจ่ายให้ส่วนต่างๆ ของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทำได้ง่ายแต่อาจดูไม่เรียบร้อยและไม่สวยงามนัก
-ถังเก็บน้ำใต้ดิน ใช้ในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการติดตั้งเพียงพอและต้องการให้ดูเรียบร้อยสวยงาม การบำรุงดูแลรักษาทำได้ยาก ดังนั้นการก่อสร้างและการเลือกชนิดของถังต้องมีความละเอียดรอบคอบ

ชนิดของท่อพีวีซี (PVC.)
ท่อพีวีซี (PVC.) แบ่งตามชนิดการใช้งาน โดยใช้สี ดังนี้
1.ท่อสีเหลือง เป็นท่อสำหรับร้อยสายไฟฟ้าและสายโทรศัพท์ เพราะสามารถทนต่อความร้อนได้อย่างดี
2.ท่อสีฟ้า เป็นท่อที่ใช้กับระบบน้ำ เช่น น้ำดี น้ำเสีย ระบบน้ำดื่มหรืองานท่อระบายน้ำ สามารถทนแรงดันน้ำได้มากน้อยตามประเภทการใช้งาน (มีหลายเกรด) มีความหนาตามระดับการรับแรงดันตั้งแต่ชั้น PVC 5 ,8.5 และ 13.5 ตาม มาตรฐาน มอก.17-2532 ชั้นหนาสุดก็คงเป็น PVC 13.5 ตัวเลข13.5 เป็นค่าแรงดันใช้งาน มีหน่วยเป็น kgf/cm2 ในไทยมีบริษัทหลายบริษัทผลิตท่อขึ้นมาขาย ซึ่งมีตั้งแต่บริษัทขนาดใหญ่ ได้แก่ บริษัทท่อน้ำไทย นวพลาสติกฯ CP และบริษัทอื่นๆ มากมาย ท่อน้ำไทยจะผลิตท่อมา 3 เกรด 3 ยี่ห้อ โดยมีตราของท่อน้ำไทยประทับไว้บนท่อ คือ ท่อน้ำไทย Hilon และท่อโพลี ส่วนนวพลาสติกก็ผลิตท่อ 2 เกรด 2 ยี่ห้อ คือ ตราช้างและตราเสือ ท่อเกรดดีๆ คงเป็นท่อเกรดท่อน้ำไทยและตราช้าง รองลงมาก็เสือและ Hilon ส่วนอื่นๆ ก็รองลงมาตามส่วนผสมของวัสดุที่ผสมเข้าไป
3.ท่อสีเทา เป็นท่อที่ใช้สำหรับการเกษตรหรือน้ำทิ้ง ราคาค่อนข้างถูก ไม่ค่อยแข็งแรง ควรจะเดินลอย ไม่ควรฝังดิน คุณภาพที่ดีก็มีของตราช้าง รองลงมาก็เป็นท่อสีเขียวขี้ม้าชื่อ OK ของตราช้าง เช่นเดียวกับท่อเทาเกษตรของท่อน้ำไทยใช้ชื่อว่าท่อ 5 ดาว ค่อนข้างแข็งและกรอบเร็ว นอกจากนี้ก็มีท่อเกษตรยี่ห้ออื่นๆ อีก ไม่ว่าจะเป็นของอริยะ CP TSD เป็นต้น

การต่อท่อ ทำได้โดยการทำความสะอาดท่อและข้อต่อให้สะอาด แล้วทากาวด้านในข้อต่อและข้างนอกท่อที่จะนำมาต่อ ปล่อยไว้ประมาณ 15 วินาที จึงนำท่อเสียบเข้ากับข้อต่อ

การซ่อมแซมก๊อกน้ำที่รั่วซึม
ในกรณีที่มีน้ำรั่วซึมตรงก๊อกน้ำกับข้อต่อ จะต้องปิดสต๊อปวาล์วหรือวาล์วตัวหลักที่อยู่ติดกับมิเตอร์น้ำประปานอกบ้าน เพื่อปิดน้ำก่อนจะไม่ทำให้น้ำไหลไปยังจุดที่เราจะซ่อมแซม จากนั้นหมุนก๊อกน้ำออกเพื่อทำการพันเทปพันเกลียวกันซึมโดยพันให้มีขนาดพอเหมาะ แล้วทำการต่อก๊อกน้ำเข้ากับข้อต่อตามเดิม ถ้าก๊อกน้ำแตกร้าวให้ซื้อมาเปลี่ยนใหม่

เมื่อก๊อกน้ำยอดนิยม (หัวบอล) รั่วซึม ในเบื้องต้นให้ใช้ไขควงขันนอตที่ยึดหัวก๊อกให้แน่น ถ้ายังรั่วซึมให้ถอดตัวก๊อกออกมาเ พื่อตรวจดูสภาพภายในระบบของวาล์วว่ามีการสึกหรอหรือไม่ ทั้งนี้การรั่วซึมอาจเป็นเพราะแหวนยางกันซึม (O ring) ซึ่งอยู่ตรงกลางของตัววาล์วฉีกขาด หรือแผ่นยางควบคุมการเปิดปิดน้ำที่อยู่ปลายของวาล์วเสื่อมสภาพ

น้ำจากฝักบัวอาบน้ำไหลไม่ค่อยแรง น้ำไหลไม่แรงทั้งๆ ที่แรงดันน้ำยังปกติดี อาจเกิดจากการอุดตัน บริเวณทางออกของน้ำหรือหัวฝักบัวของตะกอนต่างๆ ที่มากับน้ำ ให้ถอดหัวฝักบัวอาบน้ำออกไปแช่น้ำยาขัดพื้นหรือน้ำยากันสนิมเพื่อทำความสะอาด สังเกตุดูแหวนยางรอบฝักชำรุดหรือไม่ ถ้าชำรุดให้เปลี่ยน จากนั้นใช้เข็มหรือแปรงสีฟันเก่ามาแทงหรือขัดรูฝักบัวเพื่อให้ตะกอนต่างๆ หลุดออก

สายฉีดชำระรั่วซึม อาจเป็นเพราะใช้งานมานานหรือตกกระแทกพื้นบ่อย ทำให้เกิดรอยร้าวที่ก้านกดน้ำ ฯลฯ กรณีที่ฝักบัวฉีดชำระรั่วซึมหรือพองตัวจนทำให้ขั้วยึดปลายทั้งสองด้านของสายฉีกหลุดออกจากกัน เพียงไปซื้อสายน้ำเส้นดีมาเปลี่ยนเท่านั้น แต่ถ้าหัวฉีดแตกร้าวหรือก้านกดน้ำหัก ให้เปลี่ยนหัวฉีดชำระมาเปลี่ยนใหม่ ไม่ต้องกลัวว่าจะผิดขนาดเพราะส่วนใหญ่ใช้มาตราฐานเดียวกัน

บริการของเราช่างไฟฟ้าประจำบ้าน
**ช่างไฟฟ้านครพนม งานระบบไฟฟ้า แก้ไขงานไฟฟ้าขัดข้องประจำบ้าน เดินสายไฟ ติดตั้งปลั๊ก หลอดไฟ เดินไฟรั้ว ไฟสนาม ไฟรอบนอกตัวบ้าน
**ช่างนครพนม ซ่อมแซม/แก้ไข เบกเกอร์ทริป เซฟทีคัททริปบ่อย สายไฟชำรุด ไฟช็อต ไฟรั่ว ปลั๊กชำรุด โคมไฟชำรุด

นครพนมอัครเดชรับออกแบบและติดตั้ง ประตูสแตนเลส ประตูสแตนเลสอลูมิเนียมลายไม้ รั้วบ้านสแตนเลส ราวสแตนเลส ราวบันไดสแตนเลส
นครพนมประตูสแตนเลสนครพนม
ประตูรั้วสแตนเลสนครพนม
งานสแตนเลสนครพนม
ร้านสแตนเลสนครพนม
ราวสแตนเลสนครพนม
ป้ายสแตนเลสนครพนม
ประตูสแตนเลสราคานครพนม
ราวกันตกสแตนเลสนครพนม

เราเป็นช่างทำหลังคานครพนม
ช่างงานโครงเหล็กนครพนม
รับงานหลังคาโรงรถนครพนม

รับเหมาโครงหลังคากันสาดนครพนม
ต่อเติมจากบ้านเดิมนครพนม
รับทำที่จอดรถนครพนม

บริการออกแบบและติดตั้ง พร้อมจำหน่าย กันสาด ประตูสแตนเลส รั้วสแตนเลส โครงสแตนเลสนครพนม ประตูสเตนเลสอลูมิเนียมลายไม้ วัสดุ สเตนเลสเกรด304 ผสมกับอลูมิเนียมลายไม้ เบา แข็งแรง ทนทาน ผลงานของเรา
อลูมิเนียมลายไม้นครพนม
ลวดลายสแตนเลสราคานครพนม
นครพนมช่องรั้วสแตนเลสราคา
นครพนมสแตนเลสเมตรละเท่าไหร่
นครพนมประตูรั้วสแตนเลสราคา
ลายประดับสแตนเลสนครพนม
ประตูสแตนเลสสำเร็จรูปนครพนม
ประตูสแตนเลสผสมไม้นครพนม

ช่างไฟฟ้าอำเภอวังยาง
ช่างไฟฟ้ายอดชาด
ช่างไฟฟ้าวังยาง
ช่างไฟฟ้าหนองโพธิ์
ช่างไฟฟ้าโคกสี

ช่างไฟฟ้าอำเภอท่าอุเทน
ช่างไฟฟ้าท่าจำปา
ช่างไฟฟ้าท่าอุเทน
ช่างไฟฟ้าพนอม
ช่างไฟฟ้าพะทาย
ช่างไฟฟ้ารามราช
ช่างไฟฟ้าหนองเทา
ช่างไฟฟ้าเวินพระบาท
ช่างไฟฟ้าโนนตาล
ช่างไฟฟ้าไชยบุรี

ช่างไฟฟ้าอำเภอธาตุพนม
ช่างไฟฟ้ากุดฉิม
ช่างไฟฟ้าดอนนางหงส์
ช่างไฟฟ้าธาตุพนม
ช่างไฟฟ้าธาตุพนมเหนือ
ช่างไฟฟ้านาถ่อน
ช่างไฟฟ้านาหนาด
ช่างไฟฟ้าน้ำก่ำ
ช่างไฟฟ้าฝั่งแดง
ช่างไฟฟ้าพระกลางทุ่ง
ช่างไฟฟ้าอุ่มเหม้า
ช่างไฟฟ้าแสนพัน
ช่างไฟฟ้าโพนแพง

ช่างไฟฟ้าอำเภอนาทม
ช่างไฟฟ้าดอนเตย
ช่างไฟฟ้านาทม
ช่างไฟฟ้าหนองซน

ช่างไฟฟ้าอำเภอนาหว้า
ช่างไฟฟ้าท่าเรือ
ช่างไฟฟ้านาคูณใหญ่
ช่างไฟฟ้านางัว
ช่างไฟฟ้านาหว้า
ช่างไฟฟ้าบ้านเสียว
ช่างไฟฟ้าเหล่าพัฒนา

ช่างไฟฟ้าอำเภอนาแก
ช่างไฟฟ้าก้านเหลือง
ช่างไฟฟ้าคำพี้
ช่างไฟฟ้านาคู่
ช่างไฟฟ้านาเลียง
ช่างไฟฟ้านาแก
ช่างไฟฟ้าบ้านแก้ง
ช่างไฟฟ้าพระซอง
ช่างไฟฟ้าพิมาน
ช่างไฟฟ้าพุ่มแก
ช่างไฟฟ้าสีชมพู
ช่างไฟฟ้าหนองบ่อ
ช่างไฟฟ้าหนองสังข์

ช่างไฟฟ้าอำเภอบ้านแพง
ช่างไฟฟ้านางัว
ช่างไฟฟ้านาเข
ช่างไฟฟ้าบ้านแพง
ช่างไฟฟ้าหนองแวง
ช่างไฟฟ้าโพนทอง
ช่างไฟฟ้าไผ่ล้อม

ช่างไฟฟ้าอำเภอปลาปาก
ช่างไฟฟ้ากุตาไก้
ช่างไฟฟ้านามะเขือ
ช่างไฟฟ้าปลาปาก
ช่างไฟฟ้ามหาชัย
ช่างไฟฟ้าหนองฮี
ช่างไฟฟ้าหนองเทาใหญ่
ช่างไฟฟ้าโคกสว่าง
ช่างไฟฟ้าโคกสูง

ช่างไฟฟ้าอำเภอศรีสงคราม
ช่างไฟฟ้าท่าบ่อสงคราม
ช่างไฟฟ้านาคำ
ช่างไฟฟ้านาเดื่อ
ช่างไฟฟ้าบ้านข่า
ช่างไฟฟ้าบ้านเอื้อง
ช่างไฟฟ้าศรีสงคราม
ช่างไฟฟ้าสามผง
ช่างไฟฟ้าหาดแพง
ช่างไฟฟ้าโพนสว่าง

ช่างไฟฟ้าอำเภอเมือง
ช่างไฟฟ้ากุรุคุ
ช่างไฟฟ้าขามเฒ่า
ช่างไฟฟ้าคำเตย
ช่างไฟฟ้าดงขวาง
ช่างไฟฟ้าท่าค้อ
ช่างไฟฟ้านาทราย
ช่างไฟฟ้านาราชควาย
ช่างไฟฟ้าบ้านกลาง
ช่างไฟฟ้าบ้านผึ้ง
ช่างไฟฟ้าวังตามัว
ช่างไฟฟ้าหนองญาติ
ช่างไฟฟ้าอาจสามารถ
ช่างไฟฟ้าโพธิ์ตาก
ช่างไฟฟ้าในเมือง

ช่างไฟฟ้าอำเภอเรณูนคร
ช่างไฟฟ้าท่าลาด
ช่างไฟฟ้านาขาม
ช่างไฟฟ้านางาม
ช่างไฟฟ้าหนองย่างชิ้น
ช่างไฟฟ้าเรณู
ช่างไฟฟ้าเรณูใต้
ช่างไฟฟ้าโคกหินแฮ่
ช่างไฟฟ้าโพนทอง

ช่างไฟฟ้าอำเภอโพนสวรรค์
ช่างไฟฟ้านาขมิ้น
ช่างไฟฟ้านาหัวบ่อ
ช่างไฟฟ้านาใน
ช่างไฟฟ้าบ้านค้อ
ช่างไฟฟ้าโพนจาน
ช่างไฟฟ้าโพนบก
ช่างไฟฟ้าโพนสวรรค์

ใส่ความเห็น

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  เปลี่ยนแปลง )

Connecting to %s