รับซ่อมไฟฟ้านครราชสีมา บ้าน อาคาร โรงงาน มาตรฐานทีมงานบริษทัท รวดเร็วทันใจ ฉับไว ซ่อมไฟ24 มองหาช่างไฟฟ้า ช่างรับเหมาไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า
ช่างซ่อมไฟซ๊อตนครราชสีมา
การออกแบบระบบท่อประปา
ส่วนประกอบระบบประปาในอาคาร ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วน คือ
1) ถังเก็บน้ำประปา ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
– ถังเก็บน้ำบนดิน
ในอาคารสูงจำเป็นต้องสร้างถังเก็บน้ำใต้ดิน เพื่อใช้สำหรับเครื่องสูบน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และเพื่อไว้ใช้ป้องกันอัคคีภัยด้วย ขนาดของถังเก็บน้ำที่เล็กที่สุดที่ต้องสามารถเก็บน้ำไว้ได้ไม่น้อยกว่าผลต่างระหว่างปริมาณน้ำที่ถูกสูบออกไปจากถังเก็บน้ำ และปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถังเก็บน้ำในแต่ละรอบของการเดินเครื่องสูบน้ำ ส่วนถังเก็บน้ำที่ใหญ่กว่านั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการในการสำรองน้ำเอาไว้ ตามลักษณะประเภทของอาคาร ถังเก็บน้ำมักจะสร้างในระดับดิน เพื่อให้น้ำจากท่อจ่ายน้ำของการประปาสามารถไหลเข้ามาได้สะดวก
– ถังเก็บน้ำบนหลังคาหรือถังสูง
ถังสูงจะต้องอยู่ในระดับซึ่งสามารถให้ความดันแก่เครื่องสุขภัณฑ์ชั้นบนได้อย่างพอเพียง ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสวยงามและทางด้านโครงสร้างของอาคารด้วย
– ท่อส่งเข้าถังจากเครื่องสูบน้ำ ซึ่งที่ปลายท่อส่งน้ำอาจจะติดตั้งประตูน้ำลูกลอย เพื่อใช้ในกรณีที่ระบบควบคุมการทำงานขัดข้อง น้ำจะได้ไม่ไหลล้นออกจากถังสูง
– ท่อจ่ายน้ำให้ระบบ โดยจะต้องต่อท่อจ่ายน้ำรวมให้ออกที่จุดสูงกว่าก้นถังประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำในถังอย่างทั่วถึง และมีชั้นเก็บตะกอนที่ก้นถัง
– ท่อน้ำล้นให้มีขนาดใหญ่พอที่จะรับปริมาณน้ำที่สูบเข้าถังได้
– ท่อระบายน้ำก้นถัง เพื่อใช้ซ่อมบำรุงโดยปลายท่อระบายน้ำทิ้งและท่อน้ำล้น
ปริมาณของน้ำสำรองเพื่อการดับเพลิง ควรจะมีปริมาณเพียงพอที่จะจ่ายน้ำดับเพลิงได้ภายในเวลา 20 นาที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบระบบดับเพลิงด้วย
ขนาดของถังเก็บน้ำหลังคาหรือถังสูง สามารถพิจารณาได้ 2 ทางคือ
พิจารณาจากการใช้น้ำ โดยกำหนดให้ถังเก็บน้ำสำรองเอาไว้ใช้ได้เป็นเวลา 30 นาที ทำให้อาคารยังคงมีน้ำใช้ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ หรือเครื่องสูบน้ำเสีย หรือน้ำประปาขาดช่วงในระยะเวลาสั้น ๆ นอกจากนั้น การที่เครื่องสูบน้ำทำงานเพียง 2 ครั้งต่อชั่วโมง จะทำให้มีอายุในการใช้งานที่ยาวนาน
พิจารณาตามความเหมาะสมของอาคารและการใช้งาน โดยเปรียบเทียบความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นหากไม่มีน้ำประปาในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กับราคาค่าก่อสร้าง สถานที่ตลอดจนความสวยงามต่าง ๆ โดยเฉพาะอาคารพิเศษ เช่น โรงพยาบาล ห้องทดลอง เป็นต้น
2) เครื่องสูบน้ำ
ความสามารถในการสูบน้ำของเครื่องสูบน้ำรวมทั้งหมด โดยปกติจะเท่ากับอัตราการใช้น้ำสูงสุด ซึ่งโดยหลักการออกแบบจะต้องมีเครื่องสูบน้ำสำรองเอาไว้ ในกรณีซึ่งอาจเกิดการชำรุดเสียหาย ส่วนความดันรวม (Total Dynamic Head) จะใช้คำนวณเป็นหน่วยความสูงของน้ำ สามารถคำนวณได้จากค่าความแตกต่างความสูงของระดับน้ำต่ำสุดในถังเก็บน้ำกับปลายท่อส่งน้ำ รวมทั้งการสูญเสียความดันในท่อส่งน้ำและอุปกรณ์ต่าง ๆ เมื่อได้ปริมาณการสูบน้ำและความดันรวม ก็สามารถเลือกชนิดของเครื่องสูบน้ำได้อย่างถูกต้อง ระบบควบคุมการทำงานสามารถใช้ได้ทั้ง Float Mercury Switch, Pressure Switchหรือ Electrode Probe เพื่อสั่งให้เครื่องสูบน้ำทำงานเมื่อน้ำในถังลดระดับมาถึงระดับที่ต้องการ และสั่งให้หยุดเมื่อน้ำในถังถึงระดับสูงสุด
3) ระบบท่อจ่ายน้ำ
ท่อจ่ายน้ำประปาภายในอาคารนิยมใช้เป็นท่อเหล็กชุบสังกะสี เพื่อป้องกันการเกิดสนิม ท่อพีวีซี ท่อ HDPEและท่อ HDPB การติดตั้งท่อประปาเพื่อจ่ายน้ำประปาในอาคารจะต้องคำนวณอัตราการไหลและแรงดันที่อุปกรณ์ใช้น้ำต้องการ การออกแบบท่อประปาที่มีขนาดเล็กเกินไปจะเกิดแรงเสียดทานในท่อมาก เครื่องสูบน้ำจะต้องทำงานหนักและน้ำไหลช้า ท่อจ่ายน้ำประปาจะต้องติดตั้งอุปกรณ์เปิด-ปิด เพื่อความสะดวกในการบำรุงรักษา
4) วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ
วาล์วและอุปกรณ์ประกอบท่อน้ำประปา จะติดตั้งไว้เพื่อประโยชน์ในการบำรุงรักษา วาล์วในระบบประปามีหลายแบบ เช่น Gate Valve, Butterfly Valve และBall Valve เป็นต้น
5) สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ใช้น้ำ
สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ใช้น้ำ เช่น โถปัสสาวะ อ่างล้างมือ เป็นต้น
2.1.2 ระบบการจ่ายน้ำประปาในอาคาร
ระบบท่อประปาภายในอาคารจำเป็นต้องพยายามเดินท่อโดยใช้ความยาวท่อที่สั้นที่สุด มีการเลี้ยวคดไปคดมาน้อยที่สุด ตำแหน่งของท่อประปาควรอยู่บริเวณที่สามารถเข้าไปบำรุงรักษาและซ่อมแซมได้ง่าย โดยทั่วไปรูปแบบการจ่ายน้ำจะเป็นแบบจ่ายขึ้นดังรูปที่ 2.5 ซึ่งเครื่องสูบน้ำจะทำงานตลอดเมื่อมีการใช้น้ำ
ระบบจ่ายน้ำประปาภายในอาคารสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้น (Up-feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นหมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นจากชั้นล่างของอาคารไปแจกจ่ายทั่วอาคาร จนถึงชั้นบนของอาคาร ดังแสดงในภาพที่ โดยความดันน้ำของท่อประปาประธานที่จ่ายต้องมีมากเพียงพอที่จะจ่ายน้ำประปาให้แก่ผู้ใช้น้ำที่อยู่ชั้นบนๆ ถ้าต้องเดินท่อจ่ายยาวมาก อาจทำให้ความดันลดเนื่องจากความยาวของท่อมีมาก ทำให้ความดันน้ำภายในท่อลดลงมาก ซึ่งอาจจำเป็นต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำหรือถังอัดความดันไว้ที่ชั้นล่าง เพื่อทำหน้าที่สูบจ่ายน้ำประปาขึ้นในอาคารโดยตรง ดังแสดงในภาพที่ อาคารที่มีขนาดสูงเกิน 10 ชั้น และหรือมีพื้นที่อาคารเกิน 10,000 ตร.เมตร ไม่ควรใช้วิธีจ่ายน้ำประปาขึ้น แม้ว่าจะมีเครื่องสูบน้ำ และถังอัดความดันช่วยก็ตาม เพราะไม่ประหยัดพลังงานไฟฟ้าและขนาดของถังอัดความดันจะมีขนาดใหญ่จนเกินไป ดังรูปที่ 2.6
2) ระบบจ่ายน้ำประปาลง (Down-feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาลง หมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาจากชั้นบนสุดไหลลงจ่ายทั่วอาคารไปจนถึงชั้นล่าง ดังแสดงในภาพที่ หลักการของระบบจ่ายน้ำประปาลงคือ น้ำประปาไหลจากท่อประปาประธานเข้าสู่ถังเก็บน้ำใต้ดิน มีเครื่องสูบน้ำทำการสูบน้ำประปาขึ้นไปเก็บไว้ในถังน้ำบนหลังคาของอาคาร น้ำประปาจากถังเก็บน้ำบนหลังคาจะจ่ายลงไปทั่วอาคาร ระบบจ่ายน้ำประปาวิธีนี้นิยมใช้กับอาคารสูง 3 ชั้นขึ้นไป ซึ่งวิธีจ่ายน้ำประปาลงจะเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างมากที่สุด ยกเว้นบางอาคารที่ไม่สามารถติดตั้งถังเก็บน้ำบนหลังคาได้เลย จึงจำเป็นต้องเลือกใช้ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้น ความดันของระบบจ่ายน้ำประปาลงจำเป็นต้องพิจารณาขนาดความดันน้ำ ณ ระดับสูงต่างๆ ของอาคารโดยเฉพาะบริเวณชั้นบนสุดและชั้นล่างสุด เพราะบริเวณชั้นบนสุดจะมีขนาดความดันน้ำต่ำสุดของอาคารและบริเวณชั้นล่างสุดจะมีขนาดดันน้ำสูงสุดของอาคาร โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับความดันน้ำของท่อประปาที่จ่ายแต่ละชั้นดังต่อไปนี้
– ความดันของน้ำต่ำสุด ที่ยอมให้มีได้ของท่อประปาจะจ่ายบริเวณชั้นบนสุดควรมีเกิน 10 ม.ของน้ำ
– ความดันของน้ำสูงสุด ที่ยอมให้มีได้ของท่อประปาที่จ่ายบริเวณชั้นล่างสุดไม่ควรมีเกิน 56 ม.ของน้ำ
จากเงื่อนไขทั้งสองข้อดังกล่าวแสดงว่า ระยะสูงระหว่างผิวน้ำในถังเก็บน้ำบนหลังคากับชั้นบนสุดของอาคารที่มีการเดินท่อประปาจะต้องมีอย่างน้อย 10 เมตร มิฉะนั้นจะต้องมีการติดตั้งเครื่องสูบน้ำกับถังอัดแรงดัน เพื่อเพิ่มความดันน้ำในเส้นท่อประปาบริเวณชั้นบน ๆ ดังรูปที่ 2.7 สำหรับระยะสูงระหว่างผิวน้ำในถังเก็บน้ำบนหลังคากับชั้นล่างสุดของอาคารจะต้องมีไม่มากกว่า 56 เมตร (อาคาร 12 ชั้น) เพื่อป้องกันไม่ให้วาล์วและเครื่องสุขภัณฑ์เสียหาย เนื่องจากมีความดันของน้ำในเส้นท่อบริเวณชั้นล่างสูงเกินไป ซึ่งปัญหานี้อาจแก้ได้โดยการติตั้งวาล์วลดความดัน ที่ท่อแยกตามชั้นล่างต่าง ๆ ดังรูปที่ 2.7 เช่นเดียวกัน
3) ระบบจ่ายน้ำประปาแบบผสม (Up and Down feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาแบบผสม หมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาที่มีการจ่ายน้ำประปาทั้งแบบจ่ายลงและแบบจ่ายขึ้น โดยสามารถทำหน้าที่จ่ายน้ำประปาแบบใดแบบหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับผู้อาศัยจะเลือกใช้ ข้อดีของระบบนี้คือ สามารถรับน้ำประปาที่จ่ายจากท่อประปาประธานหรือระบบสูบน้ำโดยตรงจากชั้นล่างได้ หรือสามารถรับน้ำประปาที่จ่ายจากถังเก็บน้ำบนหลังคาได้ เช่น ในบางเวลาน้ำประปาจากท่อประปาประธานเกิดหยุดไหล ผู้อาศัยเพียงแต่เปิดวาล์วให้น้ำจากถังเก็บน้ำบนหลังคาจ่ายลงไปทั่วอาคารได้ทันที โดยปราศจากการขาดน้ำใช้ในอาคาร สำหรับข้อเสียของระบบนี้คือ จำเป็นต้องมีการติดตั้งท่อประปายาวขึ้นกว่าปกติ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของอาคารนั้นด้วย รูปที่ 2.8 แสดงระบบจ่ายน้ำแบบผสมของอาคารทั่วไป

นครราชสีมาประตูสแตนเลสนครราชสีมา
เราเป็นช่างทำหลังคานครราชสีมา
ช่างงานโครงเหล็กนครราชสีมา
รับงานหลังคาโรงรถนครราชสีมา
รับเหมาโครงหลังคากันสาดนครราชสีมา
ต่อเติมจากบ้านเดิมนครราชสีมา
รับทำที่จอดรถนครราชสีมา
ช่างไฟฟ้าอำเภอบัวลาย
ช่างไฟฟ้าบัวลาย
ช่างไฟฟ้าหนองหว้า
ช่างไฟฟ้าเมืองพะไล
ช่างไฟฟ้าโนนจาน
ช่างไฟฟ้าอำเภอสีดา
ช่างไฟฟ้าสามเมือง
ช่างไฟฟ้าสีดา
ช่างไฟฟ้าหนองตาดใหญ่
ช่างไฟฟ้าโนนประดู่
ช่างไฟฟ้าโพนทอง
ช่างไฟฟ้าอำเภอขามทะเลสอ
ช่างไฟฟ้าขามทะเลสอ
ช่างไฟฟ้าบึงอ้อ
ช่างไฟฟ้าพันดุง
ช่างไฟฟ้าหนองสรวง
ช่างไฟฟ้าโป่งแดง
ช่างไฟฟ้าอำเภอขามสะแกแสง
ช่างไฟฟ้าขามสะแกแสง
ช่างไฟฟ้าชีวึก
ช่างไฟฟ้าพะงาด
ช่างไฟฟ้าหนองหัวฟาน
ช่างไฟฟ้าเมืองนาท
ช่างไฟฟ้าเมืองเกษตร
ช่างไฟฟ้าโนนเมือง
ช่างไฟฟ้าอำเภอคง
ช่างไฟฟ้าขามสมบูรณ์
ช่างไฟฟ้าคูขาด
ช่างไฟฟ้าดอนใหญ่
ช่างไฟฟ้าตาจั่น
ช่างไฟฟ้าบ้านปรางค์
ช่างไฟฟ้าหนองบัว
ช่างไฟฟ้าหนองมะนาว
ช่างไฟฟ้าเทพาลัย
ช่างไฟฟ้าเมืองคง
ช่างไฟฟ้าโนนเต็ง
ช่างไฟฟ้าอำเภอครบุรี
ช่างไฟฟ้าครบุรี
ช่างไฟฟ้าครบุรีใต้
ช่างไฟฟ้าจระเข้หิน
ช่างไฟฟ้าตะแบกบาน
ช่างไฟฟ้าบ้านใหม่
ช่างไฟฟ้ามาบตะโกเอน
ช่างไฟฟ้าลำเพียก
ช่างไฟฟ้าสระว่านพระยา
ช่างไฟฟ้าอรพิมพ์
ช่างไฟฟ้าเฉลียง
ช่างไฟฟ้าแชะ
ช่างไฟฟ้าโคกกระชาย
ช่างไฟฟ้าอำเภอจักราช
ช่างไฟฟ้าคลองเมือง
ช่างไฟฟ้าจักราช
ช่างไฟฟ้าทองหลาง
ช่างไฟฟ้าศรีละกอ
ช่างไฟฟ้าสีสุก
ช่างไฟฟ้าหนองขาม
ช่างไฟฟ้าหนองพลวง
ช่างไฟฟ้าหินโคน
ช่างไฟฟ้าอำเภอชุมพวง
ช่างไฟฟ้าชุมพวง
ช่างไฟฟ้าตลาดไทร
ช่างไฟฟ้าท่าลาด
ช่างไฟฟ้าประสุข
ช่างไฟฟ้าสาหร่าย
ช่างไฟฟ้าหนองหลัก
ช่างไฟฟ้าโนนตูม
ช่างไฟฟ้าโนนยอ
ช่างไฟฟ้าโนนรัง
ช่างไฟฟ้าอำเภอด่านขุนทด
ช่างไฟฟ้ากุดพิมาน
ช่างไฟฟ้าด่านขุนทด
ช่างไฟฟ้าด่านนอก
ช่างไฟฟ้าด่านใน
ช่างไฟฟ้าตะเคียน
ช่างไฟฟ้าบ้านเก่า
ช่างไฟฟ้าบ้านแปรง
ช่างไฟฟ้าพันชนะ
ช่างไฟฟ้าสระจรเข้
ช่างไฟฟ้าหนองกราด
ช่างไฟฟ้าหนองบัวตะเกียด
ช่างไฟฟ้าหนองบัวละคร
ช่างไฟฟ้าหนองไทร
ช่างไฟฟ้าหินดาด
ช่างไฟฟ้าห้วยบง
ช่างไฟฟ้าโนนเมืองพัฒนา
ช่างไฟฟ้าอำเภอบัวใหญ่
ช่างไฟฟ้ากุดจอก
ช่างไฟฟ้าขุนทอง
ช่างไฟฟ้าดอนตะหนิน
ช่างไฟฟ้าด่านช้าง
ช่างไฟฟ้าบัวใหญ่
ช่างไฟฟ้าหนองบัวสะอาด
ช่างไฟฟ้าหนองแจ้งใหญ่
ช่างไฟฟ้าห้วยยาง
ช่างไฟฟ้าเสมาใหญ่
ช่างไฟฟ้าโนนทองหลาง
ช่างไฟฟ้าอำเภอบ้านเหลื่อม
ช่างไฟฟ้าช่อระกา
ช่างไฟฟ้าบ้านเหลื่อม
ช่างไฟฟ้าวังโพธิ์
ช่างไฟฟ้าโคกกระเบื้อง
ช่างไฟฟ้าอำเภอประทาย
ช่างไฟฟ้ากระทุ่มราย
ช่างไฟฟ้าดอนมัน
ช่างไฟฟ้าตลาดไทร
ช่างไฟฟ้าทุ่งสว่าง
ช่างไฟฟ้านางรำ
ช่างไฟฟ้าประทาย
ช่างไฟฟ้าวังไม้แดง
ช่างไฟฟ้าหนองค่าย
ช่างไฟฟ้าหนองพลวง
ช่างไฟฟ้าหันห้วยทราย
ช่างไฟฟ้าเมืองโดน
ช่างไฟฟ้าโคกกลาง
ช่างไฟฟ้าโนนเพ็ด
ช่างไฟฟ้าอำเภอปักธงชัย
ช่างไฟฟ้างิ้ว
ช่างไฟฟ้าดอน
ช่างไฟฟ้าตะขบ
ช่างไฟฟ้าตะคุ
ช่างไฟฟ้าตูม
ช่างไฟฟ้าธงชัยเหนือ
ช่างไฟฟ้านกออก
ช่างไฟฟ้าบ่อปลาทอง
ช่างไฟฟ้าภูหลวง
ช่างไฟฟ้าลำนางแก้ว
ช่างไฟฟ้าสะแกราช
ช่างไฟฟ้าสำโรง
ช่างไฟฟ้าสุขเกษม
ช่างไฟฟ้าเกษมทรัพย์
ช่างไฟฟ้าเมืองปัก
ช่างไฟฟ้าโคกไทย
ช่างไฟฟ้าอำเภอปากช่อง
ช่างไฟฟ้ากลางดง
ช่างไฟฟ้าขนงพระ
ช่างไฟฟ้าคลองม่วง
ช่างไฟฟ้าจันทึก
ช่างไฟฟ้าปากช่อง
ช่างไฟฟ้าพญาเย็น
ช่างไฟฟ้าวังกะทะ
ช่างไฟฟ้าวังไทร
ช่างไฟฟ้าหนองน้ำแดง
ช่างไฟฟ้าหนองสาหร่าย
ช่างไฟฟ้าหมูสี
ช่างไฟฟ้าโป่งตาลอง
ช่างไฟฟ้าอำเภอพระทองคำ
ช่างไฟฟ้าทัพรั้ง
ช่างไฟฟ้าพังเทียม
ช่างไฟฟ้ามาบกราด
ช่างไฟฟ้าสระพระ
ช่างไฟฟ้าหนองหอย
ช่างไฟฟ้าอำเภอพิมาย
ช่างไฟฟ้ากระชอน
ช่างไฟฟ้ากระเบื้องใหญ่
ช่างไฟฟ้าชีวาน
ช่างไฟฟ้าดงใหญ่
ช่างไฟฟ้าท่าหลวง
ช่างไฟฟ้าธารละหลอด
ช่างไฟฟ้านิคมสร้างตนเอง
ช่างไฟฟ้ารังกาใหญ่
ช่างไฟฟ้าสัมฤทธิ์
ช่างไฟฟ้าหนองระเวียง
ช่างไฟฟ้าโบสถ์
ช่างไฟฟ้าในเมือง
ช่างไฟฟ้าอำเภอลำทะเมนชัย
ช่างไฟฟ้าขุย
ช่างไฟฟ้าช่องแมว
ช่างไฟฟ้าบ้านยาง
ช่างไฟฟ้าไพล
ช่างไฟฟ้าอำเภอวังน้ำเขียว
ช่างไฟฟ้าระเริง
ช่างไฟฟ้าวังน้ำเขียว
ช่างไฟฟ้าวังหมี
ช่างไฟฟ้าอุดมทรัพย์
ช่างไฟฟ้าไทยสามัคคี
ช่างไฟฟ้าอำเภอสีคิ้ว
ช่างไฟฟ้ากฤษณา
ช่างไฟฟ้ากุดน้อย
ช่างไฟฟ้าคลองไผ่
ช่างไฟฟ้าดอนเมือง
ช่างไฟฟ้าบ้านหัน
ช่างไฟฟ้ามิตรภาพ
ช่างไฟฟ้าลาดบัวขาว
ช่างไฟฟ้าวังโรงใหญ่
ช่างไฟฟ้าสีคิ้ว
ช่างไฟฟ้าหนองน้ำใส
ช่างไฟฟ้าหนองบัวน้อย
ช่างไฟฟ้าหนองหญ้าขาว
ช่างไฟฟ้าอำเภอสูงเนิน
ช่างไฟฟ้ากุดจิก
ช่างไฟฟ้านากลาง
ช่างไฟฟ้าบุ่งขี้เหล็ก
ช่างไฟฟ้ามะเกลือเก่า
ช่างไฟฟ้ามะเกลือใหม่
ช่างไฟฟ้าสูงเนิน
ช่างไฟฟ้าหนองตะไก้
ช่างไฟฟ้าเสมา
ช่างไฟฟ้าโคราช
ช่างไฟฟ้าโค้งยาง
ช่างไฟฟ้าโนนค่า
ช่างไฟฟ้าอำเภอหนองบุนนาก
ช่างไฟฟ้าบ้านใหม่
ช่างไฟฟ้าลุงเขว้า
ช่างไฟฟ้าสารภี
ช่างไฟฟ้าหนองตะไก้
ช่างไฟฟ้าหนองบุนนาก
ช่างไฟฟ้าหนองหัวแรต
ช่างไฟฟ้าหนองไม้ไผ่
ช่างไฟฟ้าแหลมทอง
ช่างไฟฟ้าไทยเจริญ
ช่างไฟฟ้าอำเภอห้วยแถลง
ช่างไฟฟ้ากงรถ
ช่างไฟฟ้างิ้วตะโก
ช่างไฟฟ้าทับสวาย
ช่างไฟฟ้าหลุ่งตะเคียน
ช่างไฟฟ้าหลุ่งประดู่
ช่างไฟฟ้าหินดาด
ช่างไฟฟ้าห้วยแคน
ช่างไฟฟ้าห้วยแถลง
ช่างไฟฟ้าเมืองพลับพลา
ช่างไฟฟ้าอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
ช่างไฟฟ้าช้างทอง
ช่างไฟฟ้าท่าช้าง
ช่างไฟฟ้าพระพุทธ
ช่างไฟฟ้าหนองงูเหลือม
ช่างไฟฟ้าหนองยาง
ช่างไฟฟ้าอำเภอเทพารักษ์
ช่างไฟฟ้าบึงปรือ
ช่างไฟฟ้าวังยายทอง
ช่างไฟฟ้าสำนักตะคร้อ
ช่างไฟฟ้าหนองแวง
ช่างไฟฟ้าอำเภอเมือง
ช่างไฟฟ้าจอหอ
ช่างไฟฟ้าตลาด
ช่างไฟฟ้าบ้านเกาะ
ช่างไฟฟ้าบ้านโพธิ์
ช่างไฟฟ้าบ้านใหม่
ช่างไฟฟ้าปรุใหญ่
ช่างไฟฟ้าพลกรัง
ช่างไฟฟ้าพะเนา
ช่างไฟฟ้าพุดซา
ช่างไฟฟ้ามะเริง
ช่างไฟฟ้าสีมุม
ช่างไฟฟ้าสุรนารี
ช่างไฟฟ้าหนองกระทุ่ม
ช่างไฟฟ้าหนองจะบก
ช่างไฟฟ้าหนองบัวศาลา
ช่างไฟฟ้าหนองระเวียง
ช่างไฟฟ้าหนองไข่น้ำ
ช่างไฟฟ้าหนองไผ่ล้อม
ช่างไฟฟ้าหมื่นไวย
ช่างไฟฟ้าหัวทะเล
ช่างไฟฟ้าโคกกรวด
ช่างไฟฟ้าโคกสูง
ช่างไฟฟ้าโพธิ์กลาง
ช่างไฟฟ้าในเมือง
ช่างไฟฟ้าไชยมงคล
ช่างไฟฟ้าอำเภอเมืองยาง
ช่างไฟฟ้ากระเบื้องนอก
ช่างไฟฟ้าละหานปลาค้าว
ช่างไฟฟ้าเมืองยาง
ช่างไฟฟ้าโนนอุดม
ช่างไฟฟ้าอำเภอเสิงสาง
ช่างไฟฟ้ากุดโบสถ์
ช่างไฟฟ้าบ้านราษฎร์
ช่างไฟฟ้าสระตะเคียน
ช่างไฟฟ้าสุขไพบูลย์
ช่างไฟฟ้าเสิงสาง
ช่างไฟฟ้าโนนสมบูรณ์
ช่างไฟฟ้าอำเภอแก้งสนามนาง
ช่างไฟฟ้าบึงพะไล
ช่างไฟฟ้าบึงสำโรง
ช่างไฟฟ้าสีสุก
ช่างไฟฟ้าแก้งสนามนาง
ช่างไฟฟ้าโนนสำราญ
ช่างไฟฟ้าอำเภอโชคชัย
ช่างไฟฟ้ากระโทก
ช่างไฟฟ้าด่านเกวียน
ช่างไฟฟ้าทุ่งอรุณ
ช่างไฟฟ้าท่าจะหลุง
ช่างไฟฟ้าท่าลาดขาว
ช่างไฟฟ้าท่าอ่าง
ช่างไฟฟ้าท่าเยี่ยม
ช่างไฟฟ้าพลับพลา
ช่างไฟฟ้าละลมใหม่พัฒนา
ช่างไฟฟ้าโชคชัย
ช่างไฟฟ้าอำเภอโนนสูง
ช่างไฟฟ้าขามเฒ่า
ช่างไฟฟ้าจันอัด
ช่างไฟฟ้าดอนชมพู
ช่างไฟฟ้าดอนหวาย
ช่างไฟฟ้าด่านคล้า
ช่างไฟฟ้าธารปราสาท
ช่างไฟฟ้าบิง
ช่างไฟฟ้าพลสงคราม
ช่างไฟฟ้ามะค่า
ช่างไฟฟ้าลำคอหงษ์
ช่างไฟฟ้าลำมูล
ช่างไฟฟ้าหลุมข้าว
ช่างไฟฟ้าเมืองปราสาท
ช่างไฟฟ้าโตนด
ช่างไฟฟ้าโนนสูง
ช่างไฟฟ้าใหม่
ช่างไฟฟ้าอำเภอโนนแดง
ช่างไฟฟ้าดอนยาวใหญ่
ช่างไฟฟ้าวังหิน
ช่างไฟฟ้าสำพะเนียง
ช่างไฟฟ้าโนนตาเถร
ช่างไฟฟ้าโนนแดง
ช่างไฟฟ้าอำเภอโนนไทย
ช่างไฟฟ้ากำปัง
ช่างไฟฟ้าค้างพลู
ช่างไฟฟ้าด่านจาก
ช่างไฟฟ้าถนนโพธิ์
ช่างไฟฟ้าบัลลังก์
ช่างไฟฟ้าบ้านวัง
ช่างไฟฟ้ามะค่า
ช่างไฟฟ้าสายออ
ช่างไฟฟ้าสำโรง
ช่างไฟฟ้าโนนไทย