รับซ่อมไฟฟ้าสงขลา บ้าน อาคาร โรงงาน มาตรฐานทีมงานบริษทัท รวดเร็วทันใจ ฉับไว ซ่อมไฟ24 มองหาช่างไฟฟ้า ช่างรับเหมาไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า
ช่างซ่อมไฟซ๊อตสงขลา
การออกแบบระบบท่อประปา
ส่วนประกอบระบบประปาในอาคาร ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วน คือ
1) ถังเก็บน้ำประปา ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
– ถังเก็บน้ำบนดิน
ในอาคารสูงจำเป็นต้องสร้างถังเก็บน้ำใต้ดิน เพื่อใช้สำหรับเครื่องสูบน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และเพื่อไว้ใช้ป้องกันอัคคีภัยด้วย ขนาดของถังเก็บน้ำที่เล็กที่สุดที่ต้องสามารถเก็บน้ำไว้ได้ไม่น้อยกว่าผลต่างระหว่างปริมาณน้ำที่ถูกสูบออกไปจากถังเก็บน้ำ และปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถังเก็บน้ำในแต่ละรอบของการเดินเครื่องสูบน้ำ ส่วนถังเก็บน้ำที่ใหญ่กว่านั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการในการสำรองน้ำเอาไว้ ตามลักษณะประเภทของอาคาร ถังเก็บน้ำมักจะสร้างในระดับดิน เพื่อให้น้ำจากท่อจ่ายน้ำของการประปาสามารถไหลเข้ามาได้สะดวก
– ถังเก็บน้ำบนหลังคาหรือถังสูง
ถังสูงจะต้องอยู่ในระดับซึ่งสามารถให้ความดันแก่เครื่องสุขภัณฑ์ชั้นบนได้อย่างพอเพียง ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสวยงามและทางด้านโครงสร้างของอาคารด้วย
– ท่อส่งเข้าถังจากเครื่องสูบน้ำ ซึ่งที่ปลายท่อส่งน้ำอาจจะติดตั้งประตูน้ำลูกลอย เพื่อใช้ในกรณีที่ระบบควบคุมการทำงานขัดข้อง น้ำจะได้ไม่ไหลล้นออกจากถังสูง
– ท่อจ่ายน้ำให้ระบบ โดยจะต้องต่อท่อจ่ายน้ำรวมให้ออกที่จุดสูงกว่าก้นถังประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำในถังอย่างทั่วถึง และมีชั้นเก็บตะกอนที่ก้นถัง
– ท่อน้ำล้นให้มีขนาดใหญ่พอที่จะรับปริมาณน้ำที่สูบเข้าถังได้
– ท่อระบายน้ำก้นถัง เพื่อใช้ซ่อมบำรุงโดยปลายท่อระบายน้ำทิ้งและท่อน้ำล้น
ปริมาณของน้ำสำรองเพื่อการดับเพลิง ควรจะมีปริมาณเพียงพอที่จะจ่ายน้ำดับเพลิงได้ภายในเวลา 20 นาที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบระบบดับเพลิงด้วย
ขนาดของถังเก็บน้ำหลังคาหรือถังสูง สามารถพิจารณาได้ 2 ทางคือ
พิจารณาจากการใช้น้ำ โดยกำหนดให้ถังเก็บน้ำสำรองเอาไว้ใช้ได้เป็นเวลา 30 นาที ทำให้อาคารยังคงมีน้ำใช้ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ หรือเครื่องสูบน้ำเสีย หรือน้ำประปาขาดช่วงในระยะเวลาสั้น ๆ นอกจากนั้น การที่เครื่องสูบน้ำทำงานเพียง 2 ครั้งต่อชั่วโมง จะทำให้มีอายุในการใช้งานที่ยาวนาน
พิจารณาตามความเหมาะสมของอาคารและการใช้งาน โดยเปรียบเทียบความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นหากไม่มีน้ำประปาในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กับราคาค่าก่อสร้าง สถานที่ตลอดจนความสวยงามต่าง ๆ โดยเฉพาะอาคารพิเศษ เช่น โรงพยาบาล ห้องทดลอง เป็นต้น
2) เครื่องสูบน้ำ
ความสามารถในการสูบน้ำของเครื่องสูบน้ำรวมทั้งหมด โดยปกติจะเท่ากับอัตราการใช้น้ำสูงสุด ซึ่งโดยหลักการออกแบบจะต้องมีเครื่องสูบน้ำสำรองเอาไว้ ในกรณีซึ่งอาจเกิดการชำรุดเสียหาย ส่วนความดันรวม (Total Dynamic Head) จะใช้คำนวณเป็นหน่วยความสูงของน้ำ สามารถคำนวณได้จากค่าความแตกต่างความสูงของระดับน้ำต่ำสุดในถังเก็บน้ำกับปลายท่อส่งน้ำ รวมทั้งการสูญเสียความดันในท่อส่งน้ำและอุปกรณ์ต่าง ๆ เมื่อได้ปริมาณการสูบน้ำและความดันรวม ก็สามารถเลือกชนิดของเครื่องสูบน้ำได้อย่างถูกต้อง ระบบควบคุมการทำงานสามารถใช้ได้ทั้ง Float Mercury Switch, Pressure Switchหรือ Electrode Probe เพื่อสั่งให้เครื่องสูบน้ำทำงานเมื่อน้ำในถังลดระดับมาถึงระดับที่ต้องการ และสั่งให้หยุดเมื่อน้ำในถังถึงระดับสูงสุด
3) ระบบท่อจ่ายน้ำ
ท่อจ่ายน้ำประปาภายในอาคารนิยมใช้เป็นท่อเหล็กชุบสังกะสี เพื่อป้องกันการเกิดสนิม ท่อพีวีซี ท่อ HDPEและท่อ HDPB การติดตั้งท่อประปาเพื่อจ่ายน้ำประปาในอาคารจะต้องคำนวณอัตราการไหลและแรงดันที่อุปกรณ์ใช้น้ำต้องการ การออกแบบท่อประปาที่มีขนาดเล็กเกินไปจะเกิดแรงเสียดทานในท่อมาก เครื่องสูบน้ำจะต้องทำงานหนักและน้ำไหลช้า ท่อจ่ายน้ำประปาจะต้องติดตั้งอุปกรณ์เปิด-ปิด เพื่อความสะดวกในการบำรุงรักษา
4) วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ
วาล์วและอุปกรณ์ประกอบท่อน้ำประปา จะติดตั้งไว้เพื่อประโยชน์ในการบำรุงรักษา วาล์วในระบบประปามีหลายแบบ เช่น Gate Valve, Butterfly Valve และBall Valve เป็นต้น
5) สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ใช้น้ำ
สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ใช้น้ำ เช่น โถปัสสาวะ อ่างล้างมือ เป็นต้น
2.1.2 ระบบการจ่ายน้ำประปาในอาคาร
ระบบท่อประปาภายในอาคารจำเป็นต้องพยายามเดินท่อโดยใช้ความยาวท่อที่สั้นที่สุด มีการเลี้ยวคดไปคดมาน้อยที่สุด ตำแหน่งของท่อประปาควรอยู่บริเวณที่สามารถเข้าไปบำรุงรักษาและซ่อมแซมได้ง่าย โดยทั่วไปรูปแบบการจ่ายน้ำจะเป็นแบบจ่ายขึ้นดังรูปที่ 2.5 ซึ่งเครื่องสูบน้ำจะทำงานตลอดเมื่อมีการใช้น้ำ
ระบบจ่ายน้ำประปาภายในอาคารสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้น (Up-feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นหมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้นจากชั้นล่างของอาคารไปแจกจ่ายทั่วอาคาร จนถึงชั้นบนของอาคาร ดังแสดงในภาพที่ โดยความดันน้ำของท่อประปาประธานที่จ่ายต้องมีมากเพียงพอที่จะจ่ายน้ำประปาให้แก่ผู้ใช้น้ำที่อยู่ชั้นบนๆ ถ้าต้องเดินท่อจ่ายยาวมาก อาจทำให้ความดันลดเนื่องจากความยาวของท่อมีมาก ทำให้ความดันน้ำภายในท่อลดลงมาก ซึ่งอาจจำเป็นต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำหรือถังอัดความดันไว้ที่ชั้นล่าง เพื่อทำหน้าที่สูบจ่ายน้ำประปาขึ้นในอาคารโดยตรง ดังแสดงในภาพที่ อาคารที่มีขนาดสูงเกิน 10 ชั้น และหรือมีพื้นที่อาคารเกิน 10,000 ตร.เมตร ไม่ควรใช้วิธีจ่ายน้ำประปาขึ้น แม้ว่าจะมีเครื่องสูบน้ำ และถังอัดความดันช่วยก็ตาม เพราะไม่ประหยัดพลังงานไฟฟ้าและขนาดของถังอัดความดันจะมีขนาดใหญ่จนเกินไป ดังรูปที่ 2.6
2) ระบบจ่ายน้ำประปาลง (Down-feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาลง หมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาจากชั้นบนสุดไหลลงจ่ายทั่วอาคารไปจนถึงชั้นล่าง ดังแสดงในภาพที่ หลักการของระบบจ่ายน้ำประปาลงคือ น้ำประปาไหลจากท่อประปาประธานเข้าสู่ถังเก็บน้ำใต้ดิน มีเครื่องสูบน้ำทำการสูบน้ำประปาขึ้นไปเก็บไว้ในถังน้ำบนหลังคาของอาคาร น้ำประปาจากถังเก็บน้ำบนหลังคาจะจ่ายลงไปทั่วอาคาร ระบบจ่ายน้ำประปาวิธีนี้นิยมใช้กับอาคารสูง 3 ชั้นขึ้นไป ซึ่งวิธีจ่ายน้ำประปาลงจะเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างมากที่สุด ยกเว้นบางอาคารที่ไม่สามารถติดตั้งถังเก็บน้ำบนหลังคาได้เลย จึงจำเป็นต้องเลือกใช้ระบบจ่ายน้ำประปาขึ้น ความดันของระบบจ่ายน้ำประปาลงจำเป็นต้องพิจารณาขนาดความดันน้ำ ณ ระดับสูงต่างๆ ของอาคารโดยเฉพาะบริเวณชั้นบนสุดและชั้นล่างสุด เพราะบริเวณชั้นบนสุดจะมีขนาดความดันน้ำต่ำสุดของอาคารและบริเวณชั้นล่างสุดจะมีขนาดดันน้ำสูงสุดของอาคาร โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับความดันน้ำของท่อประปาที่จ่ายแต่ละชั้นดังต่อไปนี้
– ความดันของน้ำต่ำสุด ที่ยอมให้มีได้ของท่อประปาจะจ่ายบริเวณชั้นบนสุดควรมีเกิน 10 ม.ของน้ำ
– ความดันของน้ำสูงสุด ที่ยอมให้มีได้ของท่อประปาที่จ่ายบริเวณชั้นล่างสุดไม่ควรมีเกิน 56 ม.ของน้ำ
จากเงื่อนไขทั้งสองข้อดังกล่าวแสดงว่า ระยะสูงระหว่างผิวน้ำในถังเก็บน้ำบนหลังคากับชั้นบนสุดของอาคารที่มีการเดินท่อประปาจะต้องมีอย่างน้อย 10 เมตร มิฉะนั้นจะต้องมีการติดตั้งเครื่องสูบน้ำกับถังอัดแรงดัน เพื่อเพิ่มความดันน้ำในเส้นท่อประปาบริเวณชั้นบน ๆ ดังรูปที่ 2.7 สำหรับระยะสูงระหว่างผิวน้ำในถังเก็บน้ำบนหลังคากับชั้นล่างสุดของอาคารจะต้องมีไม่มากกว่า 56 เมตร (อาคาร 12 ชั้น) เพื่อป้องกันไม่ให้วาล์วและเครื่องสุขภัณฑ์เสียหาย เนื่องจากมีความดันของน้ำในเส้นท่อบริเวณชั้นล่างสูงเกินไป ซึ่งปัญหานี้อาจแก้ได้โดยการติตั้งวาล์วลดความดัน ที่ท่อแยกตามชั้นล่างต่าง ๆ ดังรูปที่ 2.7 เช่นเดียวกัน
3) ระบบจ่ายน้ำประปาแบบผสม (Up and Down feed Distribution System)
ระบบจ่ายน้ำประปาแบบผสม หมายถึง ระบบจ่ายน้ำประปาที่มีการจ่ายน้ำประปาทั้งแบบจ่ายลงและแบบจ่ายขึ้น โดยสามารถทำหน้าที่จ่ายน้ำประปาแบบใดแบบหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับผู้อาศัยจะเลือกใช้ ข้อดีของระบบนี้คือ สามารถรับน้ำประปาที่จ่ายจากท่อประปาประธานหรือระบบสูบน้ำโดยตรงจากชั้นล่างได้ หรือสามารถรับน้ำประปาที่จ่ายจากถังเก็บน้ำบนหลังคาได้ เช่น ในบางเวลาน้ำประปาจากท่อประปาประธานเกิดหยุดไหล ผู้อาศัยเพียงแต่เปิดวาล์วให้น้ำจากถังเก็บน้ำบนหลังคาจ่ายลงไปทั่วอาคารได้ทันที โดยปราศจากการขาดน้ำใช้ในอาคาร สำหรับข้อเสียของระบบนี้คือ จำเป็นต้องมีการติดตั้งท่อประปายาวขึ้นกว่าปกติ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของอาคารนั้นด้วย รูปที่ 2.8 แสดงระบบจ่ายน้ำแบบผสมของอาคารทั่วไป

สงขลาประตูสแตนเลสสงขลา
เราเป็นช่างทำหลังคาสงขลา
ช่างงานโครงเหล็กสงขลา
รับงานหลังคาโรงรถสงขลา
รับเหมาโครงหลังคากันสาดสงขลา
ต่อเติมจากบ้านเดิมสงขลา
รับทำที่จอดรถสงขลา
ช่างไฟฟ้าอำเภอกระแสสินธุ์
ช่างไฟฟ้ากระแสสินธุ์
ช่างไฟฟ้าเกาะใหญ่
ช่างไฟฟ้าเชิงแส
ช่างไฟฟ้าโรง
ช่างไฟฟ้าอำเภอคลองหอยโข่ง
ช่างไฟฟ้าคลองหลา
ช่างไฟฟ้าคลองหอยโข่ง
ช่างไฟฟ้าทุ่งลาน
ช่างไฟฟ้าโคกม่วง
ช่างไฟฟ้าอำเภอควนเนียง
ช่างไฟฟ้าควนโส
ช่างไฟฟ้าบางเหรียง
ช่างไฟฟ้ารัตภูมิ
ช่างไฟฟ้าห้วยลึก
ช่างไฟฟ้าอำเภอจะนะ
ช่างไฟฟ้าขุนตัดหวาย
ช่างไฟฟ้าคลองเปียะ
ช่างไฟฟ้าคู
ช่างไฟฟ้าจะโหนง
ช่างไฟฟ้าตลิ่งชัน
ช่างไฟฟ้าท่าหมอไทร
ช่างไฟฟ้านาทับ
ช่างไฟฟ้านาหว้า
ช่างไฟฟ้าน้ำขาว
ช่างไฟฟ้าบ้านนา
ช่างไฟฟ้าป่าชิง
ช่างไฟฟ้าสะกอม
ช่างไฟฟ้าสะพานไม้แก่น
ช่างไฟฟ้าแค
ช่างไฟฟ้าอำเภอนาทวี
ช่างไฟฟ้าคลองกวาง
ช่างไฟฟ้าคลองทราย
ช่างไฟฟ้าฉาง
ช่างไฟฟ้าทับช้าง
ช่างไฟฟ้าท่าประดู่
ช่างไฟฟ้านาทวี
ช่างไฟฟ้านาหมอศรี
ช่างไฟฟ้าประกอบ
ช่างไฟฟ้าปลักหนู
ช่างไฟฟ้าสะท้อน
ช่างไฟฟ้าอำเภอนาหม่อม
ช่างไฟฟ้าคลองหรัง
ช่างไฟฟ้าทุ่งขมิ้น
ช่างไฟฟ้านาหม่อม
ช่างไฟฟ้าพิจิตร
ช่างไฟฟ้าอำเภอบางกล่ำ
ช่างไฟฟ้าท่าช้าง
ช่างไฟฟ้าบางกล่ำ
ช่างไฟฟ้าบ้านหาร
ช่างไฟฟ้าแม่ทอม
ช่างไฟฟ้าอำเภอระโนด
ช่างไฟฟ้าคลองแดน
ช่างไฟฟ้าตาเครียะ
ช่างไฟฟ้าท่าบอน
ช่างไฟฟ้าบ่อตรุ
ช่างไฟฟ้าบ้านขาว
ช่างไฟฟ้าบ้านใหม่
ช่างไฟฟ้าปากแตระ
ช่างไฟฟ้าพังยาง
ช่างไฟฟ้าระวะ
ช่างไฟฟ้าระโนด
ช่างไฟฟ้าวัดสน
ช่างไฟฟ้าแดนสงวน
ช่างไฟฟ้าอำเภอรัตภูมิ
ช่างไฟฟ้ากำแพงเพชร
ช่างไฟฟ้าควนรู
ช่างไฟฟ้าคูหาใต้
ช่างไฟฟ้าท่าชะมวง
ช่างไฟฟ้าเขาพระ
ช่างไฟฟ้าอำเภอสทิงพระ
ช่างไฟฟ้ากระดังงา
ช่างไฟฟ้าคลองรี
ช่างไฟฟ้าคูขุด
ช่างไฟฟ้าจะทิ้งพระ
ช่างไฟฟ้าชุมพล
ช่างไฟฟ้าดีหลวง
ช่างไฟฟ้าท่าหิน
ช่างไฟฟ้าบ่อดาน
ช่างไฟฟ้าบ่อแดง
ช่างไฟฟ้าวัดจันทร์
ช่างไฟฟ้าสนามชัย
ช่างไฟฟ้าอำเภอสะบ้าย้อย
ช่างไฟฟ้าคูหา
ช่างไฟฟ้าจะแหน
ช่างไฟฟ้าทุ่งพอ
ช่างไฟฟ้าธารคีรี
ช่างไฟฟ้าบาโหย
ช่างไฟฟ้าบ้านโหนด
ช่างไฟฟ้าสะบ้าย้อย
ช่างไฟฟ้าเขาแดง
ช่างไฟฟ้าเปียน
ช่างไฟฟ้าอำเภอสะเดา
ช่างไฟฟ้าทุ่งหมอ
ช่างไฟฟ้าท่าโพธิ์
ช่างไฟฟ้าปริก
ช่างไฟฟ้าปาดังเบซาร์
ช่างไฟฟ้าพังลา
ช่างไฟฟ้าสะเดา
ช่างไฟฟ้าสำนักขาม
ช่างไฟฟ้าสำนักแต้ว
ช่างไฟฟ้าเขามีเกียรติ
ช่างไฟฟ้าอำเภอสิงหนคร
ช่างไฟฟ้าชะแล้
ช่างไฟฟ้าชิงโค
ช่างไฟฟ้าทำนบ
ช่างไฟฟ้าบางเขียด
ช่างไฟฟ้าปากรอ
ช่างไฟฟ้าป่าขาด
ช่างไฟฟ้าม่วงงาม
ช่างไฟฟ้ารำแดง
ช่างไฟฟ้าวัดขนุน
ช่างไฟฟ้าสทิงหม้อ
ช่างไฟฟ้าหัวเขา
ช่างไฟฟ้าอำเภอหาดใหญ่
ช่างไฟฟ้าคลองอู่ตะเภา
ช่างไฟฟ้าคลองแห
ช่างไฟฟ้าควนลัง
ช่างไฟฟ้าคอหงส์
ช่างไฟฟ้าคูเต่า
ช่างไฟฟ้าฉลุง
ช่างไฟฟ้าทุ่งตำเสา
ช่างไฟฟ้าทุ่งใหญ่
ช่างไฟฟ้าท่าข้าม
ช่างไฟฟ้าน้ำน้อย
ช่างไฟฟ้าบ้านพรุ
ช่างไฟฟ้าพะตง
ช่างไฟฟ้าหาดใหญ่
ช่างไฟฟ้าอำเภอเทพา
ช่างไฟฟ้าท่าม่วง
ช่างไฟฟ้าปากบาง
ช่างไฟฟ้าลำไพล
ช่างไฟฟ้าวังใหญ่
ช่างไฟฟ้าสะกอม
ช่างไฟฟ้าเกาะสะบ้า
ช่างไฟฟ้าเทพา
ช่างไฟฟ้าอำเภอเมือง
ช่างไฟฟ้าทุ่งหวัง
ช่างไฟฟ้าบ่อยาง
ช่างไฟฟ้าพะวง
ช่างไฟฟ้าเกาะยอ
ช่างไฟฟ้าเกาะแต้ว
ช่างไฟฟ้าเขารูปช้าง